Vogue Thailand March 2024
FASHION

เปิดเรื่องราวเบื้องหลังปกโว้ก เดือนมีนาคม 2024 การโคจรมาพบกันของแฟชั่นและศิลปะ

'State of Art' คือคอนเซปต์หลักของโว้กฉบับมีนาคม 2024 ซึ่งเป็นการทำงานร่วมกันของโว้กประเทศไทย, เจ้ย-อภิชาติพงศ์ ผู้กำกับรางวัลปาล์มทองคำ, Tilda Swinton นักแสดงออสการ์ และ เพิร์ธ-หฤษฏ์ ศรีขาว ศิลปินถ่ายภาพรุ่นใหม่ ที่ทุกคนต้องจับตามอง! #VogueThailandMarch2024

ผู้กำกับ: อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล
ช่างภาพ: หฤษฎ์ ศรีขาว
นางแบบ: Tilda Swinton
สไตลิ่ง: Jerry Stafford
แต่งหน้า: อลงกรณ์ สุนทรพจน์
ทำผม: อัครชัย ดีดพิณ
ทำสีผม: Josh Wood

ผู้ช่วยช่างภาพ: รชต เสรีรัตน์, พัชรพล เกตุสุวรรณวัฒนา, ชัชพงษ์ อำภรรัตน์
ผู้กำกับภาพ Digital Bolex: ฉัตรชัย สุบรรณ
ผู้ช่วยกล้อง Digital Bolex: สุธี ชื่นชม
ผู้ควบคุมแสง: อนันต์ บุญศรี
ผู้หัวหน้าทีมไฟ: สันติ บุญศรี
ทีมไฟ: ประสิทธิ์ สาระคาญ, ศราวุธ กลมเกลียว, อรรถพล จรกระโทก, ภูวดล, วันเฉลิม นาโควงศ์, กฤษณะ แซ่อึ้ง
ผู้ควบคุมการผลิต: คัทลียา เผ่าศรีเจริญ
ผู้ช่วยผู้ควบคุมการผลิต: วิสุตา มาถนอม
ผู้ช่วยผู้กำกับ: พรรษมน กำเนิดศิริ
ประสานงานการถ่ายทำ: เกียรติศักดิ์ กิ่งแก้ว
ตัวแสดงแทน: ภูมิภัทร สุวนานันท์เจริญ
ผู้กำกับศิลป์: เอกรัฐ หอมละออ
ผู้ควบคุมอุปกรณ์ประกอบฉาก: กิตติธัช จิรจรัสตระกูล
ผู้ดูแลอุปกรณ์ประกอบฉาก: วิชัย รุ่งเรือง, นนทวัชร เสาหิน, ภูรินท์ สุทธยากร
ผู้ช่วยจัดการกองถ่าย: มงคล สถาน, อนุรักษ์ ชื่นชูลักษณ์, นิพนธ์ แป้นหมื่นไว
รถแผนกศิลปกรรม: สุริยา น้อยฟ้า
รถตู้ทีมงาน: ชวิศสิฐ ภัทรทวีผล
รถห้องน้ำเคลื่อนที่: ไชยยา วิจารวงษ์, ยุภา ภูเทพ
อุปกรณ์ไฟ: บ.ยูว้อนไลท์
สถานที่ถ่ายทำ: สวนป่ากิ่วทัพยั้ง กรมป่าไม้ จังหวัดเชียงราย
ขอบคุณ: สำนักจัดการป่านันทนาการ กรมป่าไม้, คิกเดอะแมชชีน

--------------------------------------------------------------------------------------------------------

     โว้กฉบัับนี้เราได้้นัักแสดงหญิิงอัันดัับต้นของวงการภาพยนตร์มาร่่วมงานด้วยแบบเอกซ์์คลููซีีฟเป็นครั้งแรก เราจึึงอยากทำโปรเจกต์พิิเศษที่่ไม่่ใช่่แค่่การถ่่ายแฟชั่น เป็นที่่ทราบกันดีีว่าทิลิด้ากับ เจ้้ย-อภิชิาติิพงศ์์ สนิทสนมคุ้นเคยกันมาก เมื่อคอนเซปต์เล่่มนี้คืือทีีมงานอยากเชิดชูศิลปะอัันเป็นภาษาสากล เจ้้ยจึงรับหน้าที่่เป็นผู้้กำกบ และชวน เพิร์ิ์ธ-หฤษฎ์์ ที่่เคยร่วมงานกัน มาเป็นช่่างภาพ เพื่อถ่่ายทอดผลงานศิลปะบนปกโว้ก

     “เราไม่มีีความรู้เรื่องแฟชั่นมาก่อนซึ่งนั่นถือเป็นข้อดีี” เจ้ยเริ่มบทสนทนา เขาเพิ่งถ่ายทำภาพยนตร์กับทิลด้าที่่โคลอมเบีียมา “เราไม่รู้มาก่อนว่่าวััฒนธรรมที่่นั่นเป็นอย่่างไร ซึ่งนั่นอาจเป็นข้อบวก สำหรับเราแฟชั่นเซตนี้ก็เช่่นกัน ตอนโว้กกับชาเนลติดต่อมาว่่าสนใจไหม เราบอกว่่าสนใจ สำหรับเรา เราไม่่ต้องการรู้อะไรก่อน แต่่เราอยากเข้าไปมองทุกอย่่างแบบไม่มีีฟิลเตอร์์ เช่่นมององค์ประกอบต่่างๆ ที่่ต้องเข้ามาอยู่่ในฉาก คือมองผ้า มองสี มองฟอร์ม แบบไม่มีคอนเซปต์์มาก่อน มันอาจจะได้้เซตที่น่่าสนใจก็ได้” การถ่ายภาพแฟชั่นเป็นโลกใหม่สำหรับคนที่เคยทำ แต่ภาพเคลื่อนไหวสำหรับเจ้้ย ทุกอย่่างเริ่มต้้นจากการสื่อสาร และเล่่าเรื่อง “การถ่่ายภาพไม่เหมือนภาพยนตร์ที่ต้้องมีผู้กำกับคอยคุมทุกอย่่าง การถ่ายภาพเป็นเรื่องการสื่อสารระหว่่างนางแบบกับช่่างภาพ เหมือนเป็นอีกตาหนึ่งที่่ละเอียดอ่อนมาก” ตัวเขาไม่มีีความถนัดมุุมมองแนวนี้จึงเชิญศิลปินช่่างภาพที่เคยร่วมงานกันมาช่่วย “เขา (เพิร์ธ) เคยมาถ่่ายภาพให้ตอนลงหนัังสืือ New Yorker ตอนนั้นพี่เป็นแบบให้เขา รู้้สึึกชอบการทดลองของเขา คืือถ้้าเป็็นช่่างภาพคนอื่นอาจจะรู้สึกว่่าเราทำตามหน้าที่่ ไม่่ได้้มีีส่วนร่วมมาก แต่กับเพิร์ิ์ธเรารู้สึกว่่ามีส่วนร่วมกับเขา ซึ่งมันค่อนข้างจะเชื่อมโยงกับเรื่องความยืดหยุ่่น เขาสะท้อนให้เห็นมุุมมองการทำงานของเราเอง”

 

     “เพิร์ธได้รับบรีฟมาตอนแรกว่่าจะได้มาร่วมงานกับพี่่เจ้ยและถ่่ายแฟชั่น ก็ตอบรับแทบจะทันทีี ในฐานะเด็็กที่เติบโตและอยากเป็นศิลปินที่่ประสบความสำำเร็จก็ได้อิทธิิพลมาจากพี่่เจ้ยนี่่แหละครับ แต่สิ่งที่ผมเชื่อคือการได้้เห็นคนคนหนึ่งที่่ตั้งใจทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งจริิงๆ หรือแม้แต่การร่วมงานกับทิลด้าเองที่เราก็เห็นเขาทำงานนี้มาตั้งแต่่เด็กจนถึึงตอนนี้ เราจูนกันเร็วมากเพราะผมรัักการถ่่ายภาพมากๆ พี่เจ้ยรัักภาพยนตร์มากๆ ทั้งสองศาสตร์นี้เป็นพี่่น้องกัน ตื่น เต้้น เหมืือนเราได้้ร่วมทีีมกับคนที่เราเติบโตมาด้้วย คนที่เราเรียนรู้้งานจากผลงานของเขา” ทั้งสองเริ่มต้นจากการทำงานผ่่านอีเมล จนกระทั่งเดินทางมาที่จังหวัดเชีียงรายเพื่อ หาสถานที่ในการถ่่ายทำคอนเซปต์แรกที่ทั้งสองคุุยไว้คืือการผสมผสานระหว่่างความเป็นภาพยนตร์ซึ่งเจ้ยเชี่ยวชาญกับการสร้างภาพนิ่งที่่เพิร์ธถนัด เจ้ยบอกว่่าเขาพยายามมองงานชิ้นนี้ผ่่านดวงตาที่่ใสซื่อบริสุุทธิ์ “เราตีความว่่ามันเหมือนกับความใสซื่อของเราต่อวงการแฟชั่น เราจึงใช้การสร้างมิติิของเทคนิิคลวงอะไรต่่างๆ ในภาพยนตร์์ เช่่น เทคนิิคการใช้กระจก การใช้ Long exposure เพื่อให้้เกิดความซอฟต์ การเล่นแสงเงา ซึ่งมันเกิดขึ้นในยุคแรกๆ ของภาพยนตร์” เขาดึงสิ่งที่่อยู่่ในธรรมชาติิมาใช้ โดยเน้นเรื่องพลัังของแสงและเงาเป็นหลััก “พระอาทิตย์เป็นจุุดกำเนิดชีวิต และความเคลื่อนไหวของโลก และเป็นจุุดกำเนิดของภาพยนตร์ตั้งแต่่มนุุษย์ค้นพบแสงและเงาที่่อยู่่ในถ้ำ แล้วก็เริ่มสร้างภาพ เราใช้กระจกคืือการแบ็กทููเบสิิกของซีเนม่่า เหมืือนเป็นการเคารพพระอาทิตย์อย่างหนึ่ง สื่อถึงศิลปะที่ไม่มีีอะไรมาเทียบได้คือธรรมชาติิแสดงถึงการไม่อยู่่นิ่ง การเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา คือสัจธรรมนั่นเอง เพราะถ้าเราดูต้นไม้ดูแสง ทุกอย่่างเคลื่อนเปลี่่ยนตลอดเวลาธรรมชาติคือศิลปะที่แท้จริง”

     สามารถตามไปอ่านเรื่องราวเบื้องหลังแบบเต็มๆ ได้ในนิตยสารโว้กประเทศไทย ฉบับเดือนมีนาคม 2024 วางแผงแล้วทั่วประเทศไทย



WATCH




WATCH

คีย์เวิร์ด: #VogueThailandMarch2024